ภาพรวม ของ ข้อความ (ตรรกศาสตร์)

นักปราชญ์ภาษา (philosophy of language), พี. เอฟ. สตรอว์สัน (Peter Strawson) ผลักดันให้ใช้คำว่า "ข้อความ" (statement) ในความหมาย (ข) แทนคำว่าประพจน์ สตรอว์สันใช้คำว่า "ข้อความ" เพื่อให้เหตุผลว่าประโยคบอกเล่าสองประโยคสามารถทำให้เป็นข้อความเดียวกันได้ถ้าพูดถึงสิ่งเดียวกันในวิธีที่ต่างกัน เพราะฉะนั้นหากใช้ในความหมายที่สตรอว์สันสนับสนุน "มนุษย์ทั้งหมดเป็นมัตตัย" และ "คนทุกคนเป็นมัตตัย" เป็นประโยคที่ต่างกันแต่เป็นข้อความเดียวกัน

ข้อความในทั้งสองกรณีถูกมองว่าเป็นตัวถือความจริง (truth-bearer)

ตัวอย่างของประโยคที่เป็น (หรือสร้าง) ข้อความ:

ต้วอย่างของประโยคที่ไม่ใช่ (หรือไม่สร้าง) ข้อความ:

ตัวอย่างสองอันแรกไม่ใช่ประโยค บอกเล่า และจึงไม่ใช่ (หรือไม่สร้าง) ข้อความ ตัวอย่างที่สามและสี่เป็นประโยคบอกเล่าแต่ไม่มีความหมาย ไม่จริงและไม่เท็จจึงไม่ใช่ (หรือไม่สร้าง) ข้อความ ตัวอย่างที่ห้าและหกเป็นประโยคบอกเล่าที่มีความหมาย แต่ไม่ใช่ข้อความเพราะเป็นรสนิยมและความคิดเห็น

ใกล้เคียง

ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร ข้อความอาเรซิโบ ข้อความคาดการณ์ ข้อความ (ตรรกศาสตร์) ข้อความธรรมดา ข้อความคาดการณ์ของก็อลท์บัค ข้อความสงวนลิขสิทธิ์ ข้อความคาดการณ์จำนวนเฉพาะคู่แฝด ข้อความคาดการณ์ของอ็อยเลอร์ ข้อความมัลติมีเดีย